“สมคิด” จี้ อว. เร่งถกมหาวิทยาลัยทุกสัปดาห์ ขับเคลื่อนแผนงานด้าน ววน. วงเงิน 24,645 ล้านบาท สู่ชุมชนอย่างแท้จริง

สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เจาะลึกงบลงทุนวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (ววน.) 24,645 ล้านบาท พร้อมต่อยอดสู่การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทุกมิติ ด้าน “สมคิด” จี้ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม…

เอ็มเทคหนุนผู้ประกอบการพัฒนา Bicbok ‘แผ่นพื้นยางมะตอยสำเร็จรูป’ ใช้งานได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง

การลาดยางมะตอยและการซ่อมแซมถนน ต้องอาศัยกระบวนการหลอมยางมะตอยให้เหลวหรืออ่อนตัว และคลุกเคล้ากับหินบดก่อนนำไปบดอัดทับผิวถนน ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุ่งยากเพราะใช้ทั้งพื้นที่กว้างและเครื่องจักรขนาดใหญ่ในการทำงาน แม้จะมีการพัฒนายางมะตอยแบบผสมสำเร็จรูปชนิดบรรจุถุง เพื่อให้สามารถใช้งานได้สะดวกในการปิดผิวหรือซ่อมแซมจุดเสียหายขนาดเล็ก แต่ก็ยังมีข้อจำกัดอยู่หลายประการ อาทิ ต้องใช้แรงอย่างมากในการบดอัดและเกลี่ยวัสดุให้เรียบเนียน รวมถึงต้องทิ้งไว้เป็นเวลา 2-3 วัน เพื่อให้ยางมะตอยคงรูปและลดกลิ่นรบกวนลง

แนวทางพัฒนาเมืองอัจฉริยะของไทย สู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างแท้จริง

“เมืองอัจฉริยะ” หรือ “Smart City” เป็นเรื่องใกล้ตัวของประชาชนคนไทยในทุกภูมิภาค โดยรัฐบาลถือเป็นวาระแห่งชาติ หวังให้เป็นกลไกที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้ำ และกระจายความเจริญอย่างเท่าเทียมกันในทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งจะช่วยยกระดับการพัฒนาทั่วทุกภูมิภาคของประเทศให้ก้าวไปด้วยกัน ที่ผ่านมารัฐบาลได้ส่งเสริมและเร่งสร้าง “เมืองอัจฉริยะ” ต่อเนื่อง โดยในปีพ.ศ.2561 ได้นำร่องเมืองอัจฉริยะ 7 จังหวัด…

หนุ่มวิศวฯ ไฟฟ้า มจพ. ผู้อัญเชิญพระมหามงกุฎและฉัตรปริวาร ประจำปีการศึกษา 2561

ณัฏฐพัฒน์ ชโลปถัมภ์ หรือ “ป๊อยต์” ปัจจุบันศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ก่อนหน้านี้ ได้สำเร็จการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพจาก โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน…

เมืองอัจฉริยะ (Smart City) คืออะไร และจะเกิดขึ้นได้อย่างไร

คำว่า เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City น่าจะเป็นคำคุ้นเคยที่ได้ยินกันตามสื่อต่าง ๆ อย่างแพร่หลายในช่วงระยะเวลาไม่นานนี้ นั่นเป็นเพราะประเทศไทยกำลังเดินหน้าพัฒนามุ่งมั่นก้าวสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะหรือ Smart City เพื่อมุ่งหวังยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสอดคล้องกับยุค Thailand 4.0

‘BGRIM’ กดปุ่ม COD โรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรมขนาด 4.8 เมกะวัตต์ จ่ายไฟให้ PEA

บี.กริม เพาเวอร์ ‘BGRIM’ หนึ่งในผู้นำด้านธุรกิจและจำหน่ายไฟฟ้าภาคเอกชน ทยอยเปิดดำเนินการจำหน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (COD) อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรม กำลังการผลิตติดตั้ง 4.8 เมกะวัตต์ สามารถจำหน่ายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบให้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) เป็นระยะเวลา 20 ปี…

สวทช. จับมือคณะวิทย์ฯ มหิดล เผย 10 ข่าวดังวิทยาศาสตร์ปี 2562

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำรวจความคิดเห็นออนไลน์ของบุคลากร ประกอบด้วยนักวิจัย อาจารย์และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เกี่ยวกับการค้นพบครั้งสำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับโลก ที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2562…

10 ข่าวเด่นด้านวิศวกรรมศาสตร์ของไทยในปี พ.ศ.2562

ในรอบปีพ.ศ.2562 มีเหตุการณ์สำคัญในแวดวงวิศวกรรมศาสตร์ของไทยมากมาย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการ ความก้าวหน้า ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของวงการวิศวกรรมไทย ใกล้จะสิ้นปีแล้ว ทางทีมงานกองบรรณาธิการ วารสาร Engineering Today จึงขอสรุป 10 ข่าวเด่นด้านวิศวกรรมศาสตร์ของไทยในรอบปี พ.ศ.2562 เพื่อเป็นบันทึกเป็นข้อมูลสำคัญ ดังนี้

วว.มุ่งวิจัยกัญชา 3 ด้านหลัก เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์อย่างปลอดภัย – ถูกต้องตามกฎหมาย

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) จัดงานสัมมนาวิชาการ “The International Cannabis-based Medicine Industry 2019” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ความก้าวหน้าของงานวิจัยและประโยชน์ทางการแพทย์ของสารสกัดกัญชา รวมทั้งเพื่อสร้างเครือข่ายจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน หน่วยงานการศึกษาและหน่วยงานวิจัยต่าง ๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ

BGRIM เปิดตัวพันธมิตรใหม่ ลงทุนโครงการ SPP1 เสริมศักยภาพการแข่งขันในพื้นที่มาบตาพุด

บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ หรือ BGRIM ขายหุ้นโครงการ SPP 1 ( Glow SPP1 ) จำนวน 25% ให้นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย มูลค่ากว่า…

งาน ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย 2020 ผลักดันไทยสู่ ‘ศูนย์กลางด้านพลังงานแห่งเอเชีย’

กรุงเทพฯ – 24 ธันวาคม 2562 : กลับมาอีกครั้งกับงาน ‘ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย 2020’ (Future Energy Asia 2020)  ที่ตั้งเป้าผลักดันประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางด้านพลังงานแห่งเอเชีย…

นักวิจัย-กรมทรัพยากรธรณี ตั้ง‘ทีมชาติแผ่นดินไหว’ สำรวจรอยเลื่อน -ทำแผนที่เสี่ยงภัยรายจังหวัด

นักวิจัยรวมพลังกรมทรัพยากรธานี รับมือแผ่นดินไหวทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตั้ง “ทีมชาติ” ระดมพลสหสาขาวิชา เตรียมลุยโครงการนำร่องสำรวจความเสี่ยงในพื้นที่รอยเลื่อน และจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวตามสภาพดินรายจังหวัด ชี้การรับมือสึนามิที่ภูเก็ตยังไม่พร้อม ป้ายแสดงเส้นทางหนีภัยและอาคารหลบภัยชำรุด ไร้แผนที่อพยพในป้ายแนะนำสถานที่ท่องเที่ยว

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save