Engineering Today ปีที่ 18 ฉบับที่ 175 – 180

วารสาร Engineering Today ปีที่ 18 ฉบับที่ 175 – 180 วารสารราย 2 เดือน เพื่อความก้าวหน้าในวงการวิศวกรรมและอุตสาหกรรม ตอบโจทย์การบริโภคข้อมูลข่าวสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) พร้อมเสิร์ฟสาระความรู้ อัพเดทความเคลื่อนไหวและเทรนด์ใหม่ๆ ในยุคดิจิทัลอย่างรอบด้าน รวมทั้งเจาะลึกแนวคิดของผู้บริหารองค์กรชั้นนำที่ประสบความสำเรจในการทำงาน ซึ่งจะมาร่วมชูวิสัยทัศน์ขับเคลื่อนองค์กรสู่ยุทธศาสตร์ Thailand 4.0

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 18 ฉบับที่ 180 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2563

เรื่องเด่นในฉบับ

  • วิศวกรไทย 2021 กับการปรับตัวในโลกยุควิถีใหม่ (New Normal)
  • ITAP สวทช. สนับสนุนทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่งผลิตหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัตินำทางด้วยเส้นใช้ขนสิ่งของให้ผู้ป่วยใน รพ.ชลบุรี-ลดการแพร่เชื้อช่วง COVID-19
  • พัฒนาคนให้มีทักษะและเก่ง 3 ด้าน ช่วยองค์กรไทยอยู่รอดในยุค New Normal
  • บ้านปู เน็กซ์ อีพรอมต์มูฟ โซลูชันผลิตและกักเก็บไฟฟ้าพลังงานสะอาดเคลื่อนที่คันแรกของไทย ตอบโจทย์พื้นที่ภัยพิบัติ

 View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 18 ฉบับที่ 179 กันยายน-ตุลาคม 2563

เรื่องเด่นในฉบับ

  • อว. เผยเมืองนวัตกรรม EECi พร้อมเปิดดำเนินการปลายปี’64 หนุนจัดตั้งศูนย์ SMC ด้วยงบประมาณกว่า 5,000 ล้านบาท
  • จับตาเทคโนโลยี 3 กลุ่มหลัก หนุนสร้างเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
  • มจธ. ผนึกพลังจีซี นำธนาคารน้ำใต้ดินช่วยชาวสวนมะม่วง จ.ระยอง ป้องกันน้ำท่วม-ลดปัญหาน้ำเค็มรุกล้ำ-เพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวดิน
  • ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง วว. รับมอบ ISO/IEC 17025 : 2017 จาก สมอ. เป็นรายแรกของไทย

 View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 18 ฉบับที่ 178 กรกฎาคม-สิงหาคม 2563

เรื่องเด่นในฉบับ

  • ผลกระทบจากภัยโรคระบาดCOVID-19 ต่อวิชาชีพวิศวกรรมในระยะสั้นและระยะยาว
  • สภาวิศวกร ผนึกกำลังหน่วยงานท้องถิ่น สำรวจปัญหาน้ำกัดเซาะ “ชุมชนสนามจันทร์” เตรียมเสนอแผนภาครัฐบริหารจัดการวิถีชุมชนริมน้ำยั่งยืน
  • ฟีโบ้ จับมือภาคเอกชน พัฒนา ‘MuM II’ หุ่นยนต์อัตโนมัติอเนกประสงค์สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์รับมือ COVID-19
  • เทคโนโลยีการเชื่อมต่อยานอวกาศ ความท้าทายด้านวิศวกรรม บทพิสูจน์ความสามารถเด็กไทย
  • การวางผังเมืองหลังวิกฤต COVID-19

 View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 18 ฉบับที่ 177 พฤษภาคม-มิถุนายน 2563

เรื่องเด่นในฉบับ

  • ศ. ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ พัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์-หุ่นยนต์ช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19
  • คณะวิศวฯ ม.มหิดล ร่วมกับ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เปิดตัว“หุ่นยนต์เวสตี้” ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ และ “หุ่นยนต์ฟู้ดดี้” ช่วยส่งอาหาร-ยาในหอผู้ป่วย รับมือ COVID-19
  • “ฟีโบ้” ติดตั้งระบบหุ่นยนต์ “FACO” สู้ภัย COVID-19 แห่งแรกที่ รพ.รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์

 View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 18 ฉบับที่ 176 มีนาคม-เมษายน 2563

เรื่องเด่นในฉบับ

  • สวทช. ร่วมกับจุฬาฯ พัฒนานวัตกรรมหุ่นยนต์ฆ่าเชื้อ COVID-19 ด้วยแสง UV ใช้งานได้ในพื้นที่เฉพาะและจุดเสี่ยง นำร่องที่ รพ.จุฬาฯ
  • “วิศวกรหญิง 4 เจนเนอเรชั่น” ก้าวข้ามความท้าทาย สู่วิชาชีพวิศวกรหญิงอย่างเต็มภาคภูมิ
  • จับตา 2 งานวิจัย ช่วยไทยยามวิกฤต COVID-19 หน้ากากผ้ากันน้ำของ มธ. – หน้ากากอนามัย เสริมแผ่นเส้นใยนาโนของ มจพ.

 View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 18 ฉบับที่ 175 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2563

เรื่องเด่นในฉบับ

  • วว.มุ่งวิจัยกัญชา 3 ด้านหลัก เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์อย่างปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมาย
  • รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์ “คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ สร้างงานวิจัยขายได้เชิงพาณิชย์”
  • การใช้งานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต โทรคมนาคม และการแพทย์

 View Detail      

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save