Engineering Today ปีที่ 21 ฉบับที่ 193 – 198

วารสาร Engineering Today ปีที่ 21 ฉบับที่ 193 – 198 วารสารราย 2 เดือน เพื่อความก้าวหน้าในวงการวิศวกรรมและอุตสาหกรรม ตอบโจทย์การบริโภคข้อมูลข่าวสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) พร้อมเสิร์ฟสาระความรู้ อัพเดทความเคลื่อนไหวและเทรนด์ใหม่ๆ ในยุคดิจิทัลอย่างรอบด้าน รวมทั้งเจาะลึกแนวคิดของผู้บริหารองค์กรชั้นนำที่ประสบความสำเรจในการทำงาน ซึ่งจะมาร่วมชูวิสัยทัศน์ขับเคลื่อนองค์กรสู่ยุทธศาสตร์ Thailand 4.0

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 21 ฉบับที่ 196 กรกฎาคม-สิงหาคม 2566

เรื่องเด่นในฉบับ 

  • RADAR IS THE BETTER ULTRASONIC!
  • ทีม นศ.คณะวิศวฯ มหาวิทยาลัยมหิดล พัฒนา disasterlink ระบบสื่อสารฉุกเฉิน เพิ่มอัตรารอดชีวิตผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว ไม่ต้องใช้อินเทอร์เน็ต
  • ETDA ร่วมกับ สวทช. เผยผลศึกษาความพร้อมในการประยุกต์ใช้ AI พร้อมเสนอภาครัฐ-เอกชน สนับสนุนการใช้ AI ที่ขยายตัวต่อเนื่อง
  • Generative AI สามารถเพิ่มผลผลิตมูลค่าหลายล้านล้านดอลลาร์แก่เศรษฐกิจโลก

View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 21 ฉบับที่ 195 พฤษภาคม-มิถุนายน 2566

เรื่องเด่นในฉบับ

  • INDUSTRY 4.0 – THE WAY TO A SMART AGE
  • นาโนเทค จับมือ 10 หน่วยงานพันธมิตร สนับสนุน “มาตรการ-ความปลอดภัยนาโนเทคโนโลยี” ในภาคอุตสาหกรรม เฟส 2
  • นวัตกรรมชุดกันไฟผลงานนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้ารางวัลระดับโลก หวังช่วยแก้ปัญหาไฟป่า
  • ถึงเวลายกระดับ “อุตฯ อิเล็กทรอนิกส์กับการพัฒนาประเทศไทย” หนุนขับเคลื่อนอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นอุตฯ ต้นน้ำ

View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 21 ฉบับที่ 194 มีนาคม-เมษายน 2566

เรื่องเด่นในฉบับ 

  • VEGAPULS C 21 monitors river levels reliably and accurately
  • ส.อ.ท. สะท้อนเสียงภาคเอกชนถึงรัฐบาลใหม่ให้เร่งแก้ปัญหาอุตสาหกรรม 5 ด้าน ใน 3 เดือนแรก
  • อนาคตการใช้ Generative AI ในองค์กร
  • หอการค้าไทย-จีน จับมือการบินไทย อำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าร่วมประชุมนักธุรกิจชาวจีนโลก ครั้งที่ 16 คาดเงินสะพัดในกรุงเทพฯ ราว 400-500 ล้านบาท

View Detail      

วารสาร Engineering Today 

ปีที่ 21 ฉบับที่ 193 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2566

เรื่องเด่นในฉบับ 

  • ผู้เชี่ยวชาญแนะวิธีเลือกใช้ Robot ในงานอุตสาหกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการผลิต ตอบโจทย์การทำงานที่ซับซ้อนได้ดี
  • “OsseoLabs” นำเทคโนโลยี 3D Print พัฒนา “วัสดุทดแทนกระดูกประเภทมีรูพรุนเฉพาะ” ใช้งานได้ที่ รพ.จุฬาฯ
  • เปิด “ศูนย์ GWSC” แห่งแรกในภูมิภาคเอเชีย สร้างระบบสุขาภิบาลที่ยั่งยืน

View Detail      

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save