กรุงเทพฯ ประเทศไทย – 28 พฤศจิกายน 2567 : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศไทย ร่วมกับ Google Cloud ประกาศเปิดตัวโครงการ ‘ChulaGENIE’ เพื่อบุกเบิกการพัฒนาและส่งมอบแอปพลิเคชันที่นำเอาเทคโนโลยี Generative AI อันล้ำสมัยที่สุดในโลกอันหนึ่ง มาให้ประชาคมจุฬาฯ ใช้งานได้อย่างปลอดภัย เชื่อถือได้ และไม่มีค่าใช้จ่าย โดยคาดว่าในระยะแรก ChulaGENIE จะเปิดให้คณาจารย์และบุคลากรใช้งานได้ในเดือนมกราคม 2568…
Tag: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ หารืองานวิจัยพืชสมุนไพร ร่วมกับซินโครตรอน กระทรวง อว.
คณะผู้บริหาร และนักวิจัยศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เยี่ยมชมสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) พร้อมศึกษาดูงานการวิเคราะห์คุณสมบัติของพืชสมุนไพร พร้อมแลกเปลี่ยนแนวคิดการวิจัย ภายใต้เป้าหมายยกระดับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรและวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเครื่องสำอางฮาลาลสู่ตะวันออกกลาง คาดหวังเทคโนโลยีซินโครตรอนจะมีส่วนช่วยพัฒนานวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ นครราชสีมา –…
ศ. ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ พัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์–หุ่นยนต์ช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ Coronavirus 2019 หรือ COVID-19 ในขณะนี้ กำลังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลก ด้วยเป็นโรคอุบัติใหม่ที่ยังไม่มีวัคซีนรักษาให้หายขาด สำหรับประเทศไทยมีรายงานการติดเชื้อจากคนสู่คนเป็นรายแรก เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยผู้ป่วยเป็นคนขับรถแท็กซี่และไม่มีประวัติเดินทางไปประเทศจีน อย่างไรก็ตาม…
จุฬาฯ ผนึกกำลัง สวทช. ถ่ายทอดเทคโนโลยีชั้นสูงสู่ SME ไทย ตั้งเป้าสนับสนุน SME อย่างน้อยปีละ 30 ราย
กรุงเทพฯ – 10 มีนาคม 2563 : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดงานแถลงข่าวแสดงเจตนารมณ์ความร่วมมือ“การดำเนินงานเครือข่ายของโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม” (Innovation and Technology Assistance Program:…
บทวิพากษ์ผังเมืองโลจิสติกส์ กรณี ท่าอากาศยานนานาชาติภาคตะวันตก
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาการวางผังเมืองโลจิสติกส์ Urban Logistics Planning ในหลักสูตรวิทยาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ขอเผยแพร่เพื่ออาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการโลจิสติกส์ การอ้างอิงข่าวสารใดเพื่อนำเป็นข้อมูลเชิงวิเคราะห์อย่างเที่ยงตรงเป็นกลางเท่านั้น มิได้ชี้นำเป็นด้านใดด้านหนึ่งต่อการเมืองหรือธุรกิจใดๆ
จุฬาฯ ร่วมกับ SkillLane พัฒนาระบบ GenEd Blended Learning ให้นิสิตทุกคณะเรียนออนไลน์ นำร่องช่วงฝุ่น PM 2.5 และ COVID -19 ระบาด
กรุงเทพฯ – 5 มีนาคม 2563 : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ SkillLane บริษัท Online Learning Platform อันดับหนึ่งของประเทศไทย พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญแห่งศตวรรษที่…
สวทช.จับมือ จุฬาฯ – กลาโหม ตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านแบตเตอรี่ล้ำสมัย เพื่อความมั่นคงด้านวัตถุดิบ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมมือกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม กระทรวงกลาโหม (กห.) ร่วมลงนามความร่วมมือ “โครงการจัดตั้งและดำเนินการศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล้ำสมัยที่ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเพื่อความมั่นคง” เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการวิจัยนวัตกรรมแบตเตอรี่ที่ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเพื่อความมั่นคงแบบสหสาขาวิชา…
จุฬาฯ ตีแผ่ปัญหาฝุ่น PM 2.5 สำคัญระดับชาติ จี้รัฐแก้ไขต่อเนื่อง แนะทุกภาคส่วนเร่งกำจัดแหล่งกำเนิดฝุ่นอย่างจริงจัง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดเวทีเสวนา “ฝ่าวิกฤตรับมือฝุ่น PM 2.5” เพื่อหาทางแก้ปัญหาเร่งด่วนเรื่องฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 จากสถานการณ์ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ไมครอนที่เริ่มทำลายสุขภาพประชาชนและกำลังขยายวงกว้างกระทบกับสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยเวทีเสวนาแนะทุกภาคส่วนควรร่วมกันออกมาตรการจัดการแหล่งกำเนิดฝุ่น PM 2.5…
คณะวิศวฯ จุฬาฯ จับมือโฮมดอทเทค และ REIC นำ AI วิเคราะห์ข้อมูลอสังหาฯ มีระบบเตือนภัยฟองสบู่เป็นครั้งแรกในไทย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมด้วย บริษัท โฮมดอทเทค จำกัด และศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (REIC) ร่วมมือพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมในโครงการความร่วมมือ Chula – HOME dot TECH เพื่อให้เกิดประโยชน์ในภาพรวมทางด้านข้อมูลอสังหาริมทรัพย์แก่ผู้บริโภค…
แผนแม่บทจัดการน้ำ มุ่งลดวิกฤตภัยแล้ง ตั้งเป้าลดการใช้น้ำ ภายในปีพ.ศ.2570
“น้ำ” เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญสำหรับการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิตและเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย แต่ทว่าปัจจุบันสถานการณ์น้ำมีความผันผวนอย่างมาก ก่อให้เกิดประเด็นด้านการบริหารจัดการที่ท้าทายยิ่งขึ้น ทั้งในด้านภาวะการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง ภาวะน้ำท่วมในฤดูฝน ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้ใช้น้ำ ตลอดจนปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทำให้คุณภาพของน้ำเสียไม่อาจนำน้ำมาใช้ประโยชน์ได้
สทวน. ร่วมกับจุฬาฯ และสวทช จัดทำ “โครงการวิทยาศาสตร์เพื่ออุตสาหกรรม” (Science for Industry: Sci-FI)
ดร. กิติพงค์ พร้อมวงค์ เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) พร้อมด้วย ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดร. ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือ…